เมนู

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด-
เพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย.
3. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่
สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของ
ปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ ย่อมยินดี ย่อมเพลิด-
เพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น สัญโญชนธรรม และสัมปยุตตขันธ์-
ทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

11. ปัจฉาชาตปัจจัย


[434] 1. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่
สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจจองปัจฉาชาตปัจจัย
มี 1 วาระ.

2. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

3. สัญโญชนธรรม และธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม
เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย


12. อาเสวนปัจจัย


[435] 1. สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่สัญโญชนธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย
มี 9 วาระ.

13. กัมมปัจจัย ฯลฯ 19. สัมปยุตตปัจจัย


[436] 1. ธรรมที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรม
ที่ไม่ใช่สัญโญชนธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มี 3 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย มี 1 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย มี 3 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย มี 3 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย มี 3 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย มี 9 วาระ.
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย มี 9 วาระ.